วันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ตัวชี้วัดที่ 1 ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ เฉลี่ยลดลง (ร้อยละ 10)

ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ 2

ตัวชี้วัีดที่ 3 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีงบประมาณพ.ศ. 2556 (ไม่น้อยกว่า 80)

ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปีงบประมาณพ.ศ. 2556 (ไม่น้อยกว่า 94)

ตัวชี้วัดที่ 5 เครือข่ายบริการมีระบบพัฒนา Service plan

ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตาม เกณฑ์ที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน

ตัวชี้วัดที่ 8 จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)

ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า1.8 และ รพท. ไม่น้อย 1.4 (เท่ากับ 80)

ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานตามที่กำหนด (90)

ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน

ตัวชี้วัดที่ 12 สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50)

ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของสถานพยาบาลเอกชน/สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมาย (ไม่น้อยกว่า 90)

ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (ร้อยละ 14)

ตัวชี้วัดที่ 16 ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70)

..

ตัวชี้วัดที่ 17 ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5)

ตัวชี้วัดที่ 18 ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน)

ตัวชี้วัดที่ 19 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 60)

ตัวชี้วัดที่ 20 ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 22 ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 23 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 90)

ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน (เท่ากับ 100)

ตัวชี้วัดที่ 25 ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 65)

ตัวชี้วัดที่ 26 ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว (ไม่น้อยกว่า 50)

ตัวชี้วัดที่ 27 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด (ไม่น้อยกว่า 95) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 28 ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์(ไม่น้อยกว่า 90) (ยกเว้นวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่า 95)

28.1 - ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน BCG
28.2 - ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน DTP-HB3
28.3 - ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน OPV3
28.4 - ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR
28.5 - ร้อยละเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4
28.6 - ร้อยละเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน OPV4
28.7 - ร้อยละเด็กอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีน JE2

ตัวชี้วัดที่ 29 ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 30 ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 31 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 32 ร้อยละของเด็กปฐมวัย มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 57)

ตัวชี้วัดที่ 33 ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 90)

33.1 - ร้อยละเด็กอายุ 3 ปี ได้รับวัคซีน JE3
33.2 - ร้อยละเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5
33.3 - ร้อยละเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน OPV5

ตัวชี้วัดที่ 34 ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 35 ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80)

ตัวชี้วัดที่ 36 ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและผู้ดูแลได้รับการฝึกทักษะการ แปรงฟัน (ไม่น้อยกว่า 70) และได้รับ Fluorine vanish (ไม่น้อยกว่า 50) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 37 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน(ไม่น้อยกว่า70)

 

ตัวชี้วัดที่ 38 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)

ตัวชี้วัดที่ 39 ร้อยละของเด็ก 6-12 ปี ได้รับวัคซีนกระตุ้นทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 90) (ยกเว้นวัคซีน MMR ป.1 และวัคซีน dT ป.6 ไม่น้อยกว่า 95)

39.1 - ร้อยละ นร.ป.1 ได้รับวัคซีน MMR (ไม่น้อยกว่า 95)
39.2 - ร้อยละ นร.ป.6 ได้รับวัคซีน dT (ไม่น้อยกว่า 95)

ตัวชี้วัดที่ 40 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก (ไม่น้อยกว่า 85) และเคลือบหลุมร่องฟัน (ไม่น้อยกว่า 30 ) ..

..

ตัวชี้วัดที่ 41 ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และ เชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70 )

ตัวชี้วัดที่ 43 ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สะสม ถึงปี 2557 ( ไม่น้อยกว่า 80)

ตัวชี้วัดที่ 44 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

44.1 - สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ระยะที่ 1 และ 2
44.2 - สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 หรือระยะที่ 2

ตัวชี้วัดที่ 46 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50)

ตัวชี้วัดที่ 47 ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี(ไม่น้อยกว่า 40)

วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ตัวชี้วัดที่ 49 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัวทุกประเภท (ไม่น้อยกว่า 80)

ตัวชี้วัดที่ 50 ร้อยละของประชาชนเป้าหมายได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นครบตามเกณฑ์ (มากกว่า 90)

ตัวชี้วัดที่ 51 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31)

ตัวชี้วัดที่ 52 ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80)

ตัวชี้วัดที่ 53 ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (เท่ากับ 90)

ตัวชี้วัดที่ 54 ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ

54.1 - ร้อยละของโรงพยาบาล 120 เตียงขึ้นไป มีคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 
54.2 - ร้อยละของคลินิกสายตาเลือนรางในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปที่มีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
54.3 - ร้อยละของคลินิกเวชกรรมฟื้นฟูในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปที่มีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ตัวชี้วัดที่ 55 ร้อยละของผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ลดลง (50)

ตัวชี้วัดที่ 56 ร้อยละผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม ไม่กลับไปเสพซ้ำ (80)

ตัวชี้วัดที่ 57 ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ

57.1 - ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT คุณภาพ (เท่ากับ 80)
57.2 - ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATT คุณภาพ (เท่ากับ 80)
57.3 - ร้อยละของอำเภอที่มีทีม  SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80)

ตัวชี้วัดที่ 58 ร้อยละของ ER, EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวชี้วัดที่ 59 จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา (จำนวน 24 ทีม)

ตัวชี้วัดที่ 60 ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพปลอดบุหรี่ (เท่ากับ 100)

ตัวชี้วัดที่ 61 ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ) (ไม่น้อยกว่า 75)

ตัวชี้วัดที่ 62 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 90)

ตัวชี้วัดที่ 63 ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 90)

ตัวชี้วัดที่ 65 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50)

ตัวชี้วัดที่ 65 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50)

ตัวชี้วัดที่ 66 ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ(ไม่น้อยกว่า 48)

ตัวชี้วัดที่ 66 ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ(ไม่น้อยกว่า 48)